ความเชื่อ-ดวงเกร็ดความรู้

8 เรื่องที่ควรรู้ เกี่ยวการปรับโครงสร้างหนี้

เรื่องของการปรับโครงสร้างหนี้นั้น ช่วยให้ผู้ที่เป็นหนี้ดำเนินชีวิตดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง

ซึ่งทางธนาคารแห่งประเทศไท ย ได้สนับสนุนให้ลูกหนี้ และสถาบั นการเงินร่วมมือกัน

ในเรื่องเจรจาปรับโครงสร้างหนี้หาทางออกร่วมกัน ลดโอกาสที่ลูกหนี้ดี จะกลายเป็นลูกหนี้เสีย

เราผู้เป็นหนี้ ต้องควรปรับโครงสร้างหนี้ตอนไหน

1. เตรียมตัวก่อนเข้าไปเจรจา ว่าแนวทางปรับโครงสร้างหนี้ แบบไหนที่เหมาะกับตัวเอง

2. ไม่ควรรอให้เป็นหนี้เสีย หากคิดว่าเริ่มจะผ่อนไม่ไหว รีบติดต่อสถาบันการเงิน

3. ถ้าเป็นหนี้เสีย ก็สามารถติดต่อสถาบันการเงิน เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ให้เหมาะกับตัวเอง เพื่อที่จะให้ผ่อนไหว

และนี่คือ 8 วิธีปรับโครงสร้างหนี้ ว่าแบบไหนเหมากับเรา

1. พักชำร ะเงินต้น

เรื่องนี้มันจะช่วยลดภาระการผ่อนชั่ วคราวและโดยปกติค่าง วดที่ผ่อนนั้น ประกอบด้วย 2 ส่วน

คือ เงินต้นกับดอ ก เช่น เดิมสัญญาเงินกู้ กำหนดค่าผ่อนชำระเท่ากันทุกๆ เดือน

เดือนละ 20,000 ประกอบด้วยเงินต้น 8,000 และด อกเบี้ย 12,000 การพักชำระเงินต้น

จะทำให้ค่างวดเหลือ 12,000 แต่การผ่อนเช่นนี้ เงินต้นจะไม่ลดในช่วงพัก จะส่งผลให้

ลูกหนี้ต้องจ่ายเงินก้อนใหญ่ ขึ้นในช่วงท้ายสัญญา หรือทำให้ต้องเป็นหนี้ และแบกภาระด อกเบี้ยนานกว่าเดิม

สถาบันการเงิน ก็อาจพิจารณาพักชำระเงินต้นเป็นเวลา 3 -6 เดือน แต่พอสถานการณ์ดีขึ้น

ลูกหนี้อาจนำเงินก้อนมาโปะ เพื่อลดหนี้ก่อน จึงจะกำหนดตามสัญญาซึ่งจะทำให้ภาระด อกเบี้ย

จ่ายมีจำนวนลดลง และหนี้หมดเร็วกว่าเดิม ซึ่งในช่วงที่ผ่านมานั้น ธ ป ท.

ก็ได้รณรงค์ปรับปรุงในเรื่องของการชำร ะหนี้ ก่อนครบกำหนด ให้มีการปฏิบัติที่เป็นธรรมกว่าเดิม

2. ยืดหนี้

การยืดระยะเวลาชำร ะหนี้นิยมใช้กันมาก เพื่อช่วยให้ภาระการผ่อน สอดคล้องกับรายได้ที่ลดลง

ตัวอย่างคือ สินเชื่ อระยะเวลาผ่อน 10 ปี ผ่อนมาแล้ว 6 ปี เหลือ 4 ปี

แล้วเกิดว่าเราเริ่มผ่อนไม่ไหว จะขอขย ายให้ออกไป เพื่อทำให้ยอดผ่อนชำร ะต่อเดือนลดลง

และสถาบันการเงินอาจพิจารณาอายุของผู้กู้ประกอบด้วย ซึ่งที่ผ่านมาค่าเฉลี่ ยของระยะเวลา

ผ่อนชำระหลังจากที่ ปรับโครงสร้าง จะอยู่ที่ประมาณ 8 ปีนั่นเอง

3. ยกหรือผ่อนปรน ด อกเบี้ยที่ผิดนั ดชำร ะ

จากต้นปี 2563 ธ ป ท. ได้ประกาศให้สถาบันการเงิน คิดด อกเบี้ยปรับบนฐาน

ของงวดที่ผิดนัดชำระจริง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และให้ความสำคัญ

กับความสามารถในการชำระ ของลูกหนี้อย่างเป็นรูปธรรม และสถาบันการเงินนั้น

สามารถกำหนดอัตราด อกเบี้ยปรับได้ แต่ควรจะไม่เป็นภาระแก่ลูกหนี้ หรือเป็นเหตุที่ทำให้ภาระหนี้

สูงขึ้นมากจนชำร ะไม่ได้ จนกลายเป็นหนี้เสีย ในเวลาต่อมา

4. ลดอัตราด อกเบี้ย

อัตราดอ กเบี้ยเงินกู้ที่น้อยลงมันทำให้ค่าง วดที่จ่ายแต่ละเดือน แบ่งไปตัดลดเงินต้นได้มาก

และพอเงินต้นลดภาระด อ กเบี้ยก็จะลด เช่น หากเรากู้ยืมโดยมีอัตราด อกเบี้ย

M O R+2 % ต่อปีได้รับผลกระทบ ทางเศรษฐกิจทำให้ผ่อนชำร ะที่อัตราด อกเบี้ยเดิมไม่ไหวแล้ว

สามารถทำเรื่องขอลดอัตราด อกเบี้ยให้ต่ำลง สถาบันการเงินพิจารณาลดให้หรือไม่

ดูจากหลายปัจจัยด้วยนะ เช่น ต้นทุ นของสถาบันการเงิน

ประวัติการผ่อนชำระของลูกหนี้คนนั้นๆ ประเภทสินเชื่ อ หรือหลั กประกัน

5. เปลี่ยนประเภทของหนี้

เพราะหนี้ที่อัตราด อกเบี้ยแพงๆ ก็ควรถูกเปลี่ยนประเภทเป็น เป็นอัตราด อกเบี้ยถูกลง

เช่น ลูกหนี้ S M Es ใช้บัตรเครดิต บัตรกดเงินสดเป็นแหล่งเงินทุ นหมุนเวียน

อัตราด อกเบี้ยสูง 18 % และ 28 % หรือลูกหนี้มีวงเงิน O/D ใช้วงเงินเต็ม

สถาบันการเงิน เขาก็อาจพิจารณาเปลี่ยนจากสินเชื่อหมุนเวียน ที่อัตราด อกเบี้ย

แพงๆ เหล่านี้ไปเป็นสินเชื่อแบบ มีกำหนดระยะเวลาชำระที่ด อกเบี้ยถูกลงนั่นเอง

6. เพิ่มเงินทุ นหมุนเวียน

ในภาวะที่เหตุการณ์ ในอนาคตมีความไม่แน่นอน เงินทุ นหมุนเวียน มันคือปัจจัยสำคัญที่จะช่วย

ดำรงธุรกิจในย ามที่ลำบาก ให้ฟื้นกลับอย่างรวดเร็ว และ ธ ป ท. จึงสนับสนุนให้สถาบันการเงิน

ให้สินเชื่อ W C ใหม่แก่กิจการ ที่มีศักยภาพโดยแยกการจัดชั้นสินเชื่ อ W C นี้

ออกจากสินเชื่ ออื่นซึ่งอาจจะเป็น N P L ไปแล้ว ช่วยให้กิจการยังมีบัญชี สินเชื่อสถานะปกติไว้

ผู้กู้ควรเตรียมเหตุผล และประมาณการรายจ่าย ที่จะเกิดขึ้นในระยะ 6ถึง 12 เช่น ค่าจ้างพนักงาน

ค่าวัตถุดิบเพื่อผลิตสินค้ ารวมไปถึงค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการดำเนินงานด้วย เช่น ค่าไฟ ค่าน้ำ

ค่าเช่า เพื่อให้สถาบันการเงิน ใช้ประกอบการพิจารณาวงเงิน เขาจะพิจารณาจากประวัติการผ่อน

เช่น 1 ปี ที่ผ่านมาลูกหนี้นั้น ชำระหนี้ทั้งในส่วนของเงินต้นและด อก เป็นจำนวนเท่าใด

วงเงิน W C ที่ขอเพิ่มเติม คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ของภาระหนี้รวม

7. จบด้วยเงินก้อน

ถ้าเราพอมีความสามารถหาเงินก้อนได้ เช่น จากเงินออม หรือจากการยืมญาติมิตร

แม้จะไม่มากเท่ายอดหนี้ที่มี แต่ก็สามารถเจรจาขอส่วนล ดให้เพียงพอต่อการปิดหนี้

จบทั้งบัญชีได้นะ และมันจะทำให้หมดภาระ ค่างวดรายเดือนไปด้วย

และสถาบันการเงิน ก็อาจกำหนดให้ชำระเสร็จสิ้นในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น 6 เดือน

หรือเพียง 1-2 งวด แต่ทว่าการเจรจาขอปิดจบ โดยมีส่วนลด

มันจะทำได้ค่อนข้างย ากในกรณีที่มีหลักประกั นมู ลค่าสูงกว่ายอดหนี้นั่นเอง

8. การรีไฟแนนซ์

ง่ายๆเลยก็คือ การปิดสินเชื่ อจากเจ้าหนี้เดิม และย้ ายไปใช้สินเชื่อของเจ้าหนี้ใหม่

ที่ให้เงื่อนไขดีขึ้น เช่น อัตราดอ กเบี้ ยถูกลงโดยนำหนี้ใหม่ไปชำระหนี้เดิม

ที่คงค้ างอยู่ก่อน และในประเทศไท ยอาจคุ้นเคยกับการรีไฟแนนซ์

สินเชื่ อบ้านและสินเชื่ อธุรกิจที่มีหลักประกั นอยู่ระดับหนึ่ง