ข้อคิดคติเตือนใจ

ไม่ว่าเรียนจบอะไร มันไม่สำคัญ แค่ทำงานเลี้ยงตัวเองได้ก็พอ

เมื่อก่อนนั้นตอนที่ยังเป็นนักเรียนอยู่ หลายๆ คนคงเชื่อเสมอเมื่อเราตั้งใจเรียน เราจะ สอบติดคณะที่ใช่

มีโอกาส ได้งานที่ดี และยิ่งเป็นอาชีพ ที่ใครก็รู้จัก อย่างเช่น ข้าร าชการ, วิศวกร, นักธุรกิจ อาชีพเหล่านี้มันยิ่งน่าภูมิใจ

เพราะนอกจากว่า เงินเดือนที่ได้เพียงพอที่จะจุนเจือรอบครัวได้ ทั้งยังมีสวัสดิการ

รองรับให้สุขสบายอีกด้วย เป็นอาชีพที่ถือว่า “มีหน้ามีตา” แต่ในโลกของความจริง

อาชีพที่มีหน้ามีตา มันไม่ได้เหมาะกับทุกคนเสมอไปหรอก เพราะแต่ละอาชีพเขาก็มีการกำหนด อัตร ารับสมั คร

ที่ค่อนข้างจำกั ด คำถามที่ว่า “แล้วจะเรียนไปเพื่ออะไร หากสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสาย

งานที่น้อยคนจะรู้จัก เงินก็ไม่ได้มากอะไรเลย” และคำถามนี้นั้น จะได้คำตอบ ที่ทำให้กลุ้มใจมาก

เพราะว่า มันเต็มไปด้วยความคาดหวัง ที่คิดว่า “เรามีทางเลือก อยู่ไม่กี่อย่างในชีวิต”

แต่หากลองเปลี่ยนเป็นความคิดไปว่า “เราทำงานอะไรก็ได้ จะตรงสาย หรือไม่” มันอาจดูประโยคแ พ้

ในสายตาใครบางคน แต่เมื่อคิดๆ ดูแล้วมันได้ความสบายใจเยอะ

1. เพราะแม้แต่ในคนเดียวกัน ยังมีความสามารถที่มากมาย เช่น เป็นห ม อแต่ก็เล่นด นตรีเก่ง

ทำ อ า ห า รเป็น คำนวณเก่ง ในครั้งหนึ่งที่เราไม่เห็นประโยชน์ว่าจะใช้อะไรได้จริง

เมื่อโตขึ้นอีกหน่อยมันก็ต้องมีบ้ างที่เรานึกอะไรขึ้นมา จนต้องไปหาอ่ า นตำราอีกครั้ ง

นั่นคือ ทุกความรู้ที่เราได้รับไม่เคยสู ญเปล่าเลย แค่บางทีเรามองไม่เห็นค่ามัน นึกให้ดี แล้วคุณจะทำได้

2. มันเป็นเรื่องธรรมดา ที่คนเราจะต้องวิ่งตามหาสิ่งที่ “ใช่”เรียนรู้กันไป ค่อย ๆปรับตัวไป

สิ่งที่เรากำลังสนุกตอนนี้ บางครั้งอาจจะยังไม่ใช่ที่สุดสิ่งที่เราเก่งตอนนี้ ในวันข้างหน้า

มันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำเท่านั้น เพราะอาจมีหลายปัจจัยให้คิด ให้เราทำมากขึ้น เช่น จำเป็นต้องพับ

โครงการเรียนต่อไว้ก่อน เพราะเงินไม่พอ ต้องทำงานหาเงินก่อนแล้วค่อยไปเรียนในสิ่งที่เราชอบ

เราต้องดูจังหวะของชีวิตด้วย เพราะแต่ละช่วงชีวิตนั้น มีความจำเป็นอยู่

3. เพราะคนเราทุกคนมีความสามารถในตัวเอง ที่ไม่เหมือนกัน ฉะนั้น เราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันทุกคน

4. มนุษย์เรา ควรมีทางเลือกให้กับชีวิตไว้หลายๆ ด้าน เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองมากไป

เช่น หากวุฒิที่เราเรียนมา มันหางานย า ก จะยอมรึมั้ยล่ะ ที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้หางานก่อน

หากเราไม่ได้อาชีพนี้เรายอมได้มั้ย ที่จะทำอาชีพอื่นไปพลางๆ เพราะความฝันสิ่งที่ใช่ เป็นสิ่งที่ไม่ได้ดั่งใจในทันที

5. สิ่งที่เราเรียนมาหลายๆ วิชานั่นมันคือ “การหล่อหลอม” บางครั้งมันอาจไม่ได้สอนเราทางตรง

แต่มันทำให้เราค่อยๆ ซึมซับไปเอง เช่น ฝึกความประณีต, ฝึกทักษะการเข้าสังคม, ฝึกความอดทน

6. สิ่งที่เราเก่งไม่จำเป็นต้อง ออกมาในรูปแบบวิชาชี พเสมอไป เช่น ห ม อ, วิศวกร เหล่านี้มันอาจเป็นพรสวรรค์

เป็นความรู้อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น การทำอ า ห า ร,การจัดสวน (ไม่เช่นนั้น เราคงไม่เห็นนักธุรกิจ

หน้าใหม่หลายคน ผุ ดขึ้นเป็นด อกเห็ ดหรอก จริงมั้ย!)

7. ในรั้วโรงเรียน หรือม ห าลั ย แม้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน ในส่วนของขอบเขตความรู้

ก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น แต่โลกของวัยผู้ใหญ่ เรายังต้องรู้ต้องเห็นอีกมาก

เรียนรู้กันอีกย า ว ฉะนั้น จะมาฟั น ธ งว่าเรียนมาสายวิ ทย์ต้องทำงานสายวิทย์

เรียนสายภาษ าต้องทำงานสายภาษ าแบบนี้มันก็ไม่ถูกเสมอไป มันเป็นเรื่องธรรมดาจริงๆ ที่ต้องแลกกับความเหนื่อย

หลายเท่าตัวจึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ถ้าจะพบว่าทำไมห ม อบางคนถึงแต่งเพลงได้ ?

บางคนเรียนวิชาชีพ แต่มาเป็นศิลปิน ทั้งนี้ทั้งนั้นมันอยู่ที่ตัวเราล้วน ๆ ว่า รู้ตัวดีหรือ ไม่ว่าทำอะไรอยู่

และพร้อมจะยืดหยุ่น กับทุกสถานการณ์ได้ขนาดไหน อย่าลืมว่าโลกเรากลม

มันมีหลายมิติใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว เราต้องมองโลกให้กว้าง

ขอขอบคุณ j e e b