5 สิ่ง อย่าคิดทำ นี้ในช่วงเศรษฐกิจแบบนี้ เพราะอะไรมันก็ไม่แน่นอน
1 อย่านำเงินสำรอง มาใช้โดยไม่จำเป็น
เงินสำรองนั้น คือ 6 เท่า ของรายจ่าย รายเดือนคือ เงินสำรองขั้นต่ำที่กำหนดไว้
ตามหลักการแล้ว วางแผนการเงินส่วนบุคคล วัตถุประสงค์หลักคือ เป็นเงินที่
นำมาเยีย วย าเรื่องฉุกเฉิ นต่างๆ ได้ไม่ว่าจะเป็นตกงาน ประสบอุบั ติเ หตุ ฯลฯ
บางคนไม่ได้มีปัญหา เรื่องการเงิน หรือธุรกิจก็ตาม แต่นำเงินมาใช้เล่น
แล้วพอถึงคราวเกิดปัญหาจริงๆ ก็ไม่เหลือเงินสำรอง ให้ใช้แล้ว
2 อย่าลงทุ นหวือหวา โดยไม่มีความรู้เลย
คนที่ตั้งหน้าตั้งตา จะหาให้ได้เป็นกอบเป็นกำ โดยนำความโล ภเป็นที่ตั้งนั้น
อาจพาตัวเองไปในช่องทางที่หวือหวา โดยไม่มีความรู้ อย่างพวกหุ้ นปั่นทั้งหลาย
ช่องทางการลงทุ นที่ไม่ชอบมาพากล พวกแช ร์ลูกโ ซ่งี้ จำไว้เลยว่า มันไม่มีอะไรที่ได้มาง่ายๆ
และได้เป็นกอบเป็นกำ ภายในเวลาอันสั้นหรอก ที่สำคัญอย่าลงทุ น
ในสิ่งที่ตนเองไม่มีความรู้ เพราะนั่นมัน คือหา ยน ะ
3 พักไว้ก่อน ถ้ามีความคิดจะลงทุ นช่วงนี้
ในเวลาที่เศรษฐกิจไม่ดี การค้ าข าย กำไรย่อมลดลง ผู้ประกอบการ ต่างคิดหาหนทางที่
จะเพิ่มร ายได้ เพื่อดึงกำไ รกลับมา และหนึ่งในวิธีนั้นคือการลงทุ นเพิ่ม
ไม่ว่าจะเป็นการเปิดส าขาใหม่ เพราะต้องการเพิ่มย อดข าย หรืออะไรก็แล้วแต่0
ที่ต้องใช้เงินมากๆ ในช่วงนั้น ขอบอกว่า พักไว้ก่อน คิดให้รอบคอบก่อน
4 เลี่ ยงการสร้างหนี้เพิ่ม
เพราะอะไรที่เหนือความจำเป็น พักไว้ก่อน แม้คุณจะวางแผนเปลี่ยนรถคันใหม่
หรือซื้ อบ้านหลังที่สอง ไว้ตากอากาศ สิ่งเหล่านี้ ควรพักไว้ก่อนนะ เพราะตอนนี้
เศรษฐกิจอ่อนแออ อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้ อย่าเพิ่งสร้างหนี้ใหม่ ให้เป็นภาระจะดีกว่า
5 อย่าค้ำประกั นให้ใคร ในช่วงแบบนี้
ข้อนี้ อย่าว่าแต่ในเวลาเศรษฐกิจไม่ดีเลย กับบางคนตั้งปณิธานไว้ จะรักกันมาก
ก็อย่าคิดที่จะค้ำประกั นให้ใครเลย เพราะหลายคนต้องเจอบทเรียนชีวิตอันล้ำค่า
จากการค้ำประกั นให้ผู้อื่น เข้าข่ าย “เนื้ อไม่ได้ กินหนั งไม่ได้รองนั่ง แต่เอากระดู กมาแขวนคอ”
เพราะการค้ำประกั น มันเป็นการสัญญ าว่าบุคคลหนึ่งจะชดใช้หนี้แทน ลูกหนี้
เมื่อลูกหนี้นั้น ไม่ยอมชำร ะหนี้ หรือไม่สามารถชำร ะหนี้ได้ ที่นี้ก็จะรับไปเต็มๆ