ข้อคิดคติเตือนใจ

7 สัญญาณ เงินเก็บไม่พอ ควรเริ่มออมได้แล้ว

1. ร ายได้เพิ่มขึ้น เงินเก็บไม่เพิ่มตามไปด้วย

หลายคน คิดไว้แล้วว่าหากมีร ายได้เพิ่มขึ้น ก็จะเก็บเงินให้มากขึ้นด้วย แต่เมื่อเอาจริง ๆ กลับยังคงใช้เงินแบบเดิม ๆ

เก็บเงินได้บ้าง ไม่ได้บ้าง กิเล สในแต่ละเดือนของตัวเองก็มีมากมาย รู้ตัวอีกที เงินเก็บที่คิดว่าจะมี ก็กลับไม่เท่าที่หวังไว้เท่าไร

การแก้ปัญหา

อย่ารอให้มีร ายได้เพิ่มขึ้นแล้วค่อยเก็บเงิน โดยเฉพาะถ้ารู้ตัวว่า ตัวเองเป็นคนใช้เงินเก่ง

ควรหั กเงินส่วนหนึ่งเอาไว้ออม แล้วค่อยมาบริหาร เงินที่เหลือไว้ใช้จ่ายทีหลัง

2. ไม่คิดอะไร ในเรื่องการลงทุ น

บางคนคิดว่า การล งทุนอาจจะมีความเสี่ ยง เลยยังไม่กล้าทำอะไรสักอย่างเลย

มองได้อีกมุมนะคะว่า ถ้าเราไม่เสี่ ยงไปบ้าง ชีวิตก็คงไม่ได้กำไรสักบาท ใช่มั้ยล่ะ

ฉะนั้น มองหาการลงทุ นเผื่อไว้บ้าง ที่คุณคิดว่าน่าสนใจ

การแก้ปัญหา

พาตัวเองออกจากความกลัว มองหาการลงทุ นที่คิดว่าใช่ เหมาะกับเรา

ไม่ว่าจะลองลงทุ นกับกองทุ นต่าง ๆ ซึ่งอาจจะช่วยล ดภ าษี ตอนสิ้นปีได้ด้วยนะ ดีมั้ย!

3. ไม่เคยนึกถึง เงินวัยเกษียณ

เพราะคิดว่าอายุยังน้อย มีเวลาหาเงินได้อีกหลายปี แต่ถ้าเรามัวผัดวันประกั นพรุ่งเช่นนี้

แล้วตอนไหน จึงจะมีเงินเก็บ ในส่วนที่กันไว้ใช้ช่วงวัยเกษียณ

การแก้ปัญหา

เริ่มออมเงินส่วนนั้น ไว้ตั้งแต่ตอนนี้ หัก 10 เปอเซน ของร ายได้ ออมไว้

ไว้ใช้ตอนเกษียณ เท่านี้อนาคตก็เป็นเรื่องที่ไม่น่ากังวลต่อไปแล้ว

4. การใช้จ่าย ที่ฟุ่มเฟือย

เพราะเดือน ๆ หนึ่ง เราช้อปปิ้งบ่อยมาก กาแ ฟก็ดื่มทุกวัน แฮ งก์เอาท์นี่แทบเป็นงานประจำเลยล่ะ

แบบนี้เนี่ย จะเอาเงินที่ไหนมาเก็บกันล่ะ

การแก้ปัญหา

จงเข้าใจว่า ถ้าหั กดิบให้เลิกฟุ่มเฟือย จะว่าไปมันก็คงทำได้ย ากอยู่แหละ

แต่คุณทำได้แน่ แค่จดบันทึกรายรับ รายจ่าย ของตัวเองให้สม่ำเสมอ

หรือจะใช้วิธี จำกั ดงบประมาณในแต่ละวันก็ได้เช่นกัน

แต่ทว่า มันก็ต้องมีวินัยในตัวเองด้วย และไม่ออกนอกลู่นอกทางด้วยนะ

5. ไม่เคยเตรียมพร้อม กับรายจ่ายก้อนใหญ่

โดยเฉพาะคนที่แต่งงานแล้ว อย่าลืมว่าในอนาคต บางทีมันต้องเผื่อ สม าชิกครอบครัวเพิ่มขึ้นด้วย

แล้วการเลี้ยงดูเด็ กในทุกวันนี้ ก็ต้องใช้ค่าใช้จ่ายไม่เบาเลย อีกอย่างคือ

ปัญหาสุขภาพก็เป็นเรื่องที่ไม่ควรวางใจ เจ็ บป่ วยขึ้นมา ค่าใช้จ่ายก็ไม่น้อยเลยนะ

การแก้ปัญหา

คงต้องบอกให้แบ่ งเงินบางส่วนมาเก็บออมเอาไว้ แม้จะเป็นเงินก้อนที่ดูไม่น่าจะได้ใช้เร็ว ๆ นี้

แต่การออมเงินเอาไว้ ก็ยังทำให้อุ่นใจได้จริงมั้ย เจ็ บป่ว ยขึ้นมาก็ยังมีค่ ารั กษาพร้อมจ่ายไง

6. จ่ายหนัก กับค่าที่พัก

อสั งหาริ มทรั พย์ นับว่าเป็นการลงทุ นอย่างนึง แต่ถ้าคุณมีรายจ่ายค่าบ้าน

ค่าคอนโด หอพักเกิน 40 % เนี่ย ก็มีความเป็นไปได้สูงที่จะเหลือเงินเก็บน้อย

การแก้ปัญหา

หากเรามีความสามารถ หาร ายได้เพิ่มในแต่ละเดือนได้ เราอย่ามัวรีรอเลยนะ

ทำให้สมดุลกับรายจ่ายของเราซะ  แต่ถ้าใครที่ไม่โอเคกับทางเลือกแรกล่ะก็

มองหาที่พักอาศัย ที่เหมาะสมกับรายรับ ของตัวเองดีนะ โดยเฉพาะคนที่เช่าอาศัยอยู่

หาที่พักใหม่ที่ถูกลง ทำให้เรามีเงินเหลือเก็บ ได้มากขึ้นเชียวนะ

7. มีเงินไม่พอจะจ่ายหนี้ เป็นแทบทุกเดือน

นอกจากการจะมีชีวิตแบบ สิ้นเดือนสะเทื อนใจแล้ว เมื่อมีร ายได้เข้ามา คุณเองมักจะพบว่า

ไม่สามารถจ่ายบิ ลค่าใช้จ่ายได้ทั้งหมด และนี่ก็เป็นปัญหาหนัก ประจำในแต่ละเดือน

ซึ่งก็เห็นได้ชัดเลยว่า คุณไม่มีเงินสำรอง พอจะจัดการรายจ่าย ในแต่ละเดือนได้

การแก้ปัญหา

ควรหาเงินให้ได้มากขึ้น ไม่ก็ใช้จ่ายให้น้อยลง ซึ่งอาจหาร ายได้เสริ มทำในช่วงเลิกงาน หรือวันหยุด

ตั ดรายจ่ายฟุ่มเฟือยออกไป และเริ่มต้น จดบันทึกรายรับ รายจ่าย ของตัวเอง