ข้อคิดคติเตือนใจ

4 เป้าหมายในการออมเงิน แบบมีเงินเก็บ และไม่ลำบากตัวเอง

เหตุใดจึงเก็บเท่าไหร่ ก็ไม่ได้อย่างที่ตั้งใจสักที หรือเรากำลังเก็บเงิน แบบผิ ดๆอยู่นะ เรามีเท คนิคการตั้งเป้าหมาย

ในการเก็บเงิน ที่สามารถทำได้ และไม่สำบากตัวเอง สามารถมีเงินไปช็อป เที่ยว ให้ตัวเองมีความสุขได้ไม่ย าก

1. เราจงแบ่ งสัดส่วน ของเงิน

ทำบันทึก รายรับรายจ่าย เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าเรามีร ายได้และรายจ่ายแค่ไหนกัน แล้วนำการจดบันทึกนั้น

วิเคราะห์ว่าเราควรเก็บเงิน เดือนละเท่าไหร่ มีเงินสำหรับใช้จ่าย เท่าไหร่ เราจะได้รู้ และมันจะทำให้เราจัดการ เงินของเราได้ง่ายขึ้น

2. เราจงนำเงินออมมาล งทุ น

เก็บเงินคือสิ่งที่ดีแต่จะดียิ่งขึ้น หากเรานำเ งินนั้นมาทำให้เกิดผล ที่งอกเงยด้วยการนำไปลงทุ นต่อ

แต่มันก็ล้วนแล้วแต่มีความเสี่ ยงที่ต้องยอมรับนะ ฉะนั้นเราจึงควรศึกษารายละเอียดในการลงทุ นให้ดี

ก่อนที่จะทำอะไร เพื่อที่เราจะได้สามารถเลือกวิธีการล งทุนที่เ หมาะกับเราได้

3. เ ปลี่ยนทัศนคติ เรื่องการเก็บเงิน

การเก็บเงิน ควรมาเป็นอันดับหนึ่ง ไม่ใช่สิ่งที่จะทำเป็นเรื่องสุดท้ายนะ พอเงินเราเหลือหลายคนมีทัศนคติ

เกี่ยวกับการเก็บเงิน ที่ผิ ดๆเช่นการใช้เงินที่หามาได้ก่อ น พอเงินเหลือค่อยนำมาเก็บออม

และหากไม่เหลือก็ไม่ต้องเก็บเลย ซึ่งเช่นนี้ เป็นควา มคิดที่ผิ ด มันจะทำให้เรากลายเป้นคน ไม่มีวินัยทางการเงิน

และเป้าหมายในการออมเงิน ที่ตั้งไว้ก็ทำไม่สำเร็จสักที จนบางที่มันทำให้รู้สึกท้อแท้

แล้วตั้งคำถามกับตัวเองว่า เหตุใดเราจึงไม่มีเงินเก็บ ที่ถูกต้องที่สุด คือการ“เก็บก่อนใช้ ”แบ่ งเงินเก็บออกมา

จากร ายได้ของเราทันที เพื่อป้องกันไม่ให้เราเผลอใช้เงินนั้นจนหมด แล้วมันยังทำให้เรามองเห็นจำนวนตัวเลข

ที่เราส ามารถใช้ได้จริง ไม่ใช่ใช้เงินทั้งหมดโดยที่ไม่แบ่ งมาออมเลย

4. ตั้งเป้าหมาย สำหรับการออมเงินที่ชัดเจนขึ้น

คนทุกคนก็อย ากมีเงินเก็บ แต่ไม่ได้ระบุลงรายละเอียดไปว่าต้องการเก็บเงินให้ได้ จำนวนเท่าแค่ไหน

ภายในระยะเวลาเท่าไหร่ ถ้าเรามีเป้าหม ายในการออมเงินอยู่แล้ว เช่นต้องการเก็บ เงินเพื่อนำไปซื้ อบ้าน

หรือไว้ใช้ ตอนวัยเกษียณ เราควรระบุ ให้ชัดเจนไปเลย เพื่อที่เราจะได้มองเห็นจุดหมายปลายท าง

ในการเก็บเงินของเรา และเราจะมีกำลังใจมากขึ้นเวลาที่เห็นตัวเลข ที่เพิ่มมากขึ้น